Page 148 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 148
130 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
ตารางที่ 3 การประเมินคุณลักษณะทางกายภาพและทางเคมี ของผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ
รายการประเมิน สูตรที่ 1 สูตรที่ 2
1. ลักษณะเนื้อครีม เนื้อเนียนละเอียดดีมาก เนื้อเนียนละเอียดดีมาก
้
้
2. สี สีนำาตาล สีนำาตาลของอบเชยเทศ
3. กลิ่น กลิ่นไม่ชัดเจน กลิ่นของอบเชยเทศอ่อนๆ ไม่มีกลิ่น
เหม็นหืน
4. การไหลของครีม ≥ 10 วินาที 4-10 วินาที
5. การเจริญของจุลินทรีย์และเชื้อรา ไม่มีการเจริญของจุลินทรีย์หรือเชื้อรา ไม่มีการเจริญของจุลินทรีย์หรือเชื้อรา
6. การเกิด creaming ไม่มีการเกิด creaming ไม่มีการเกิด creaming
7. การเกิด cracking ไม่มีการเกิด cracking ไม่มีการเกิด cracking
8. ค่า pH pH = 5 pH = 5.5
9. ความคงตัว ด้วยวิธี Heating มีความคงตัวดี ระดับ 1 มีความคงตัวดี ระดับ 2
cooling cycle
10. ทดสอบความคงตัวในสภาวะ ครีมมีความคงตัวดี ครีมมีความคงตัวดี
อุณหภูมิห้อง ไม่มีการแยกชั้น ไม่มีการแยกชั้น
11. ความรู้สึกในการใช้
การดูดซึมเข้าสู่ผิวหนัง ≥ 10 วินาที ครีมดูดซึมได้ช้า 10 วินาที ครีมดูดซึมเข้าผิวได้ดี
ความเหนอะหนะ ไม่มีความเหนอะหนะ ไม่มีความเหนอะหนะ
ความน่าใช้ ความน่าใช้ระดับดี ความน่าใช้ระดับดีมาก
อยู่ในระดับมาก (x = 4.40) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ มีสีครีมที่
พบว่า ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชย เหมาะสมสำาหรับการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ซึ่งอยู่ใน
เทศ ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ซึ่งอยู่ใน ระดับมาก (x = 4.27) และมีลักษณะคงทนต่อการใช้
ระดับมาก (x = 4.47) และผลิตภัณฑ์มีลักษณะเนื้อ งาน คือ เมื่อทาแล้วครีมติดอยู่บนผิวหนัง ไม่ลอกหลุด
ครีมไม่หนืด ซึมเข้าสู่ผิวง่ายในระดับมาก (x = 4.33) ง่ายในระดับมาก (x = 4.20)
รองลงมาด้านคุณภาพ ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับ
มาก (x = 4.26) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อภิปร�ยผล
ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ จากการวิเคราะห์สถานการณ์การใช้ผลิตภัณฑ์
สามารถล้างออกง่าย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ซึ่งอยู่ในระดับ ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยในปัจจุบัน
มาก (x = 4.37) และปกป้องผิวจากความแห้งกร้าน โดยการอภิปรายกลุ่มกับนักศึกษาหลักสูตรการ
ช่วยรักษาความชุ่มชื้นในระดับมาก (x = 4.27) และ แพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการ
จากการศึกษาจะเห็นได้ว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยความพึง แพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัด
พอใจต่อผลิตภัณฑ์น้อยที่สุด คือ ด้านคุณลักษณะ นนทบุรี จำานวน 8 คนนั้น จากการอภิปรายกลุ่มใน
(x = 4.08) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผลิตภัณฑ์ ประเด็นที่ 1-5 เห็นได้ว่าจะมีทั้งกลุ่มที่เคยใช้และ