Page 147 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 147
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 129
เจริญของจุลินทรีย์หรือเชื้อรา ไม่มีการเกิด creaming อาการข้อศอกดำาและด้าน ไม่เป็นโรคภูมิแพ้ คิดเป็น
ไม่มีการเกิด cracking มีค่า pH ที่เหมาะสม และ ร้อยละ 90.00 ไม่เป็นโรคผิวหนัง ไม่มีอาการแพ้ยาทา
้
ในการเลือกใช้สูตรครีมที่ 2 นั้น เนื่องจากครีมสูตรนี้มี คิดเป็นร้อยละ 100.00 ไม่แพ้สารเคมี อาหาร นำาหอม
การเพิ่มสารสกัดอบเชยเทศที่ 3 %w/w มีการดูดซึม สมุนไพร คิดเป็นร้อยละ 90.00 แต่จะพบว่าเป็นกลุ่ม
ได้ดีกว่าครีมสูตรที่ 1 คือ 10 วินาที จากผลการประเมิน ตัวอย่างเป็นโรคภูมิแพ้ และไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นโรค
ข้างต้นทำาให้ความน่าใช้ของผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับมาก ภูมิแพ้หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 6.67, 3.33 ตามลำาดับ
โดยมีการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ 2.3 ระดับความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ครีม
2. ผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่ม บำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ ผลการประเมิน
ตัวอย่างต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสาร พบว่า ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ครีม
สกัดอบเชยเทศ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย
2.1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ด้าน พบว่า แต่ละด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากถึง
กลุ่มตัวอย่างที่มีอาการข้อศอกดำาและด้านส่วนใหญ่ มากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านบรรจุภัณฑ์
เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 76.67 อายุระหว่าง 18- (x = 4.62) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผลิตภัณฑ์
19 ปี คิดเป็นร้อยละ 53.34 ซึ่งเป็นนักศึกษาการแพทย์ ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ พกพาง่าย
แผนไทยบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการ สะดวกต่อการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x = 4.80)
แพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก คิดเป็นร้อยละ ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด และผลิตภัณฑ์เหมาะสม
36.67 กะทัดรัด เอื้อต่อการใช้งานในระดับมาก (x = 4.63)
2.2 ข้อมูลสุขภาพ พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มี รองลงมา คือ ด้านคุณสมบัติทางเคมี ค่าเฉลี่ยโดยรวม
ภาพที่ 2 ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ