Page 143 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 143

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr 2021  125




            ประมาณ 4 ˚C เป็นเวลา 48 ชั่วโมง แล้วนำามาใส่ตู้อบ   3 ท่าน แพทย์แผนไทย เภสัชกร ผู้เชี่ยวชาญด้านงาน
            45 ˚C เป็นเวลา 48 ชั่วโมง 6 cycle ดูการแยกชั้น  วิจัย เป็นผู้มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญ ด้านการ

                 10. ทดสอบความคงตัวในสภาวะอุณหภูมิห้อง  ศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
            ที่ประมาณ 30 °C เป็นเวลา 48 ชั่วโมง         ด้านงานวิจัย โดยใช้สูตร IOC ซึ่งค่า IOC มีค่ามากกว่า
                 11. ประเมินความรู้สึกในการใช้ผลิตภัณฑ์ โดย  หรือเท่ากับ 0.5 แสดงว่าข้อคำาถามนั้นใช้ได้ โดยมีค่า

            พิจารณาในเรื่องต่อไปนี้                     ดัชนีความตรงของเนื้อหา (content validity index:
                                                            [13]
                   (1) การซึมซาบเข้าสู่ผิวหนัง เมื่อนำาครีมมา  CVI) CVI = 0.88
            ทาบนส้นเท้าแล้วทิ้งไว้ให้แห้ง สัมผัสบริเวณที่ทา จะ     การหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (reliability)

            รู้สึกเหมือนไม่ได้ทาครีม                    โดยการนำาแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้วไปทดลอง
                   (2) ความเหนอะหนะ ขณะทาครีมบนส้นเท้า   ใช้ (try out) กับกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่ม
            พบว่าครีมเหนียวติดผิวหนัง ไม่สบายตัว        ตัวอย่าง จำานวน 30 คน แต่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ

                    (3) สี สังเกตสีของครีม ว่ามีความน่าใช้หรือไม่  และนำาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของ
                   (4) ความน่าใช้ พิจารณาโดยรวมของการ   แบบทดสอบนำามาประมวลผล หาค่าสัมประสิทธิ์สห

            ซึมซาบเข้าผิวหนังความเหนอหนะสีลักษณะทาง     สัมพันธ์แอลฟาครอนบาค (Cronbrach alpha coef-
            กายภาพ ทางเคมี และความคงตัวของครีม          ficient) เท่ากับ 0.92 ซึ่งเป็นค่าที่เชื่อถือได้สามารถ นำา
                 4. นำาผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัด  แบบสอบถามไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลจริงต่อไป

            อบเชยเทศไปใช้
                 ชี้แจงรายละเอียดการใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุง  วิเคร�ะห์ข้อมูล

            ข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศและการปฏิบัติตัวหาก      1. วิเคราะห์ผลการอภิปรายกลุ่ม โดยการ
            เกิดอาการแพ้ ให้กับกลุ่มตัวอย่าง โดยบีบออกมาใน  วิเคราะห์เนื้อหา
            ปริมาณที่พอเหมาะ ลูบไล้ให้ทั่วข้อศอก โดยใช้เป็น     2. ประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี

            เวลา 1 สัปดาห์ เช้า–เย็น                    ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ
                 5. ประเมินความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ครีมบำารุง  วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ
            ข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ                         3.ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อ

                 การประเมินประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน  การใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชย
            คุณลักษณะ ด้านคุณภาพ ด้านคุณสมบัติทางเคมี ด้าน  เทศ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย (x) และส่วน
            บรรจุภัณฑ์ โดยใช้เกณฑ์การวัดระดับความพึงพอใจ   เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

            ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale)              ผลก�รศึกษ�
            ตามแบบมาตราวัดของลิเคิร์ท (Likert’s scale) โดย

            กำาหนดลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ  1. วิเคร�ะห์สถ�นก�รณ์ก�รใช้ผลิตภัณฑ์ครีม
            การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา (content   บำ�รุงข้อศอกจ�กส�รสกัดอบเชยในปัจจุบัน
            validity) นำาแบบสอบถามปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิจำานวน   1.1 สถานการณ์ และปัญหาของการใช้ผลิตภัณฑ์
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148