Page 142 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 142

124 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           ตารางที่ 1 (ต่อ) แสดงอัตราส่วนของสูตรตำารับครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเทศ

                                                                                 สูตร 1   สูตร 2
                     ส่วนผสม                             หน้าที่
                                                                                 (%)      (%)
            14.  Glycerin 99.5% (INCI name: Glycerin   สารกักเก็บและดูดความชื้นสู่ผิว   6.00   6.00

               หรือ Glycerol)
            15.  ClayThick Ready™ (Cream Stabilizer)   ให้ความข้นต่อสูตร เพิ่มความเสถียร ของ   5.00   5.00
               (INCI name: Magnesium Aluminum Silicate)   สูตร ที่มีปัญหาการแยกชั้น หรือไม่คงตัว

            16.  Phospholipid (INCI name: Hydrogenated   Natural emulsifier สามารถให้ความ   3.00   3.00
               Lecithin)                         ชุ่มชื้นผิว ลดการระคายเคืองผิว
            17.  นำ้ากลั่น ปราศจากเชื้อ (de-ionized,   สำาหรับใช้ในการผลิตเครื่องสำาอาง   43.90   42.90
               de-mineralized, steriled)
            18.  Allantoin (INCI name: Allantoin)   ลดการระคายเคือง ต่อต้านการแพ้ต่างๆ   0.10   0.10
               ของผิว เสริมสร้างการสร้างเนื้อเยื่อ

            19.  Glycyrrhetinic acid (INCI name:   ออกฤทธิ์ต่อต้านการระคายเคือง และลด   0.50   0.50
               Glycyrrhetinic Acid (ชนิด 18b))   การอักเสบ ของผิว
               รวม                                                               100      100




                ประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี ของ  ครีมมีจุดดำาหรือเส้นใย ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นหรือไม่
           ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชย        6.  การเกิด creaming สังเกตลักษณะวัฏภาค

           เทศ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเภสัชภัณฑ์ จำานวน 3 ท่าน  ภายในแยกไปรวมตัวกันลอยอยู่ชั้นบนหรือนอนก้น
           ประกอบด้วย                                  ภาชนะ ทำาให้เห็นแยกเป็นชั้นครีมและชั้นอิมัลชันที่
                1.  ลักษณะเนื้อครีม สังเกตลักษณะเนื้อครีม  เจือจาง เกิดขึ้นไม่ถาวร เมื่อเขย่าสามารถทำาให้ชั้นที่

           ที่มองเห็นโดยใช้คำาอธิบายลักษณะดังนี้เนื้อละเอียด   แยกผสมนี้ผสมกันได้ดังเดิม
           หยาบ มันวาว มีผลึก แห้ง มี oil droplet          7.  การเกิด cracking สังเกตลักษณะหยด
                                               ้
                2.  สี สังเกตสีของครีมที่มองเห็นว่าเป็นสีนำาตาล  วัฏภาคภายใน เกิดหลอมรวมเข้ากันเป็นหยดที่โตขึ้น
                                                                       ้
                                                                            ้
           อ่อนของอบเชย หรือสีอื่น ๆ                   จนแยกออกเป็นชั้นนำาและนำามันอย่างชัดเจน ซึ่งเป็น
                3.  กลิ่น ให้ดมกลิ่นของครีม แล้วพบว่ามีกลิ่น  ความคงตัวที่เกิดขึ้นถาวร
           ของอบเชย ไม่มีกลิ่นเหม็น หรือมีกลิ่นอื่น ๆ      8.  ประเมินคุณสมบัติทางเคมี โดยทดสอบ
                4.  การไหลของครีม นำาขวดของครีมมาเอียงทำา  ความเป็นกรด–ด่างโดยใช้ universal Indicator pH

           มุม 45 องศากับแนวระดับ จับเวลาตั้งแต่เริ่มเอียงจน  0-11
           ครีมไหลมาถึงปากภาชนะ                            9.  ประเมินความคงตัว ด้วยวิธี heating
                5.  การเจริญของจุลินทรีย์และเชื้อรา สังเกตว่า  cooling cycle โดยนำาครีมที่เตรียมไว้มาใส่ตู้เย็นที่
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147