Page 139 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 139
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 121
จำานวน 8 คน โดยการอภิปรายกลุ่ม (group discus- 1.2 ปัจจัยสำาคัญในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์
sion) กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มทดลองใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ ครีมบำารุงข้อศอกของท่านคืออะไร
จำานวน 30 คน โดยกำาหนดคุณสมบัติกลุ่มตัวอย่าง 1.3 ความพึงพอใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ครีมบำารุง
ดังต่อไปนี้ ข้อศอกจากสารสกัดสมุนไพรและจากสารสังเคราะห์ที่
เกณฑ์การคัดเข้า ช่วยปรับสมดุล ปกป้องผิวจากความแห้งกร้าน ช่วย
1. มีผิวหนังบริเวณข้อศอกดำา และด้าน รักษาความชุ่มชื้น เดิมเป็นอย่างไร
2. ไม่มีแผลเปิดบริเวณแขน และข้อศอก 1.4 ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุง
3. ไม่เป็นโรคผิวหนัง ข้อศอกจากสารสกัดอบเชยเป็นอย่างไร
4. ไม่มีประวัติการแพ้สมุนไพรและสารเคมี 1.5 ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุง
แอลกอฮอล์ ข้อศอกจากสารสกัดอบเชยที่จะจัดทำาขึ้นควรมีรูป
5. ผู้เข้าร่วมวิจัยยินดีให้ความร่วมมือในการ แบบหรือลักษณะอย่างไร
ทดสอบผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัด 2. ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระชนิดไนตริก-
อบเชย และร่วมกิจกรรมอื่น ๆ ตามกระบวนการวิจัย ออกไซด์ (NO) ของสารสกัดอบเชย
ครบทุกกิจกรรม การเตรียมตัวอย่างพืช
เกณฑ์การคัดออก นำาเครื่องยาอบเชยเทศและอบเชยไทยมาล้าง
1. ผู้ที่รับการรักษาอาการข้อศอกดำา และด้าน ทำาความสะอาด และหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ อบที่อุณหภูมิ
ด้วยวิธีอื่นร่วมด้วย เช่น การรักษาโดยใช้ครีม หรือ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นนำามา
้
เวชสำาอางของทางโรงพยาบาล อย่างละ 150 กรัม หมักด้วยเอทานอล 95 % และนำา ที่
้
อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 3 วัน (3 ซำา) โดยมีการเขย่าทุก
วิธีก�รศึกษ� วัน วันละ 2 ครั้ง จากนั้นนำามากรองด้วยกระดาษกรอง
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (The นำาสารสกัดที่ได้ไประเหยแห้งด้วยเครื่องกลั่นระเหย
research and development: R&D) โดยมีการ แบบหมุนภายใต้สุญญากาศ (Rotary evaporator)
ศึกษาดังนี้ และทำาให้แห้งด้วยเครื่องระเหิดแห้งแบบเยือกแข็ง
1. วิเคราะห์สถานการณ์การใช้ผลิตภัณฑ์ครีม (freeze-dryer)
[6]
บำารุงข้อศอกในปัจจุบัน เตรียมสารละลาย Griess reagent โดยเตรียม
จากนักศึกษาหลักสูตรการแพทย์แผนไทย 5%Phosphoric acid ความเข้มข้น 0.1 มิลลิโมลาร์
บัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และ สารละลาย 0.1% N-1-naphthylenediamine ความ
สาธารณสุขกาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรี จำานวน 8 เข้มข้น 0.1 มิลลิโมลาร์ สารละลาย Phosphate buffer
คน โดยมีประเด็นคำาถามจำานวน 5 ข้อ ดังต่อไปนี้ pH 7.5 สารละลาย sodium nitroprusside ความ
1.1 สถานการณ์ และปัญหาของการใช้ผลิตภัณฑ์ เข้มข้น 20 มิลลิโมลาร์ และเตรียมสารสกัดอบเชยเทศ
ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดสมุนไพรและจากสาร และอบเชยไทย 50-1000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร โดย
สังเคราะห์ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ทดสอบดังนี้ [12]