Page 138 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 138
120 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
ความจำาเป็นที่จะต้องได้รับการดูแลตั้งแต่ขั้นตอนการ (NO) และพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงข้อศอกจาก
รับประทานอาหารจนถึงการใช้ครีมหรือโลชั่นทาบำารุง สารสกัดอบเชย สำาหรับนักศึกษาหลักสูตรการแพทย์
[1]
ผิวจากภายนอกเพื่อคงสภาพผิวที่ดี ไม่หยาบกร้าน แผนไทยบัณฑิต ในวิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์
การศึกษานี้จะเน้น สารสกัดพืชสมุนไพรในกลุ่มสาร และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรี เพื่อ
ต้านอนุมูลอิสระ เนื่องจากสารกลุ่มนี้จะช่วยในการ เพิ่มความชุ่มชื้นของผิวหนังบริเวณข้อศอกที่มีการ
เพิ่มความชุ่มชื้นของชั้นผิว ที่มีปัญหาหยาบกร้านหรือ เสียดสีมากเนื่องจากเรียนวิชานวดไทยแล้วต้องนวด
[2]
ดำาได้เป็นอย่างดี โดยอบเชยเทศ Cinnamomum แบบเชลยศักดิ์มีความจำาเป็นที่จะต้องใช้ข้อศอกใน
verum J. Presl อยู่ในวงศ์ Lauraceae ซึ่งใบ มีสาร การนวด [10]
สำาคัญ Cinnamaldehyde eugenol เปลือกต้น มีสาร
สำาคัญ Cinnamaldehyde eugenol เปลือกราก มี ระเบียบวิธีศึกษ�
สารสำาคัญ Camphor ผล Trans-cinnamyl acetate การศึกษานี้เป็นการวิจัยและพัฒนา ดำาเนินการ
และ Caryophyllene สารสำาคัญที่หลากหลายนี้ ศึกษาวิจัยระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2561 ถึงเดือน
[3]
พบว่า อบเชยมีฤทธิ์ทางชีวภาพที่หลากหลายเช่นกัน สิงหาคม 2562 ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์
อาทิ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรี โดย
[4]
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ และพบว่าพืชที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูล การศึกษาครั้งนี้ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ
อิสระ จะมีส่วนช่วยในการกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน [5] จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของวิทยาลัยเทคโนโลยี
ซึ่งจากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่า มีผู้นิยมนำาอบเชยเทศ ทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก เลขที่
มาประกอบอาหารและทำาเป็นยารักษาอาการต่าง ๆ KMPHT-62020053
โดยนำาเปลือกต้นไปต้มดื่มแก้ตับอักเสบ อาหารไม่ พืชที่ใช้ในการศึกษา คือ อบเชยเทศ (Cinna-
ย่อย แก้ท้องเสีย ลำาไส้เล็กทำางานผิดปกติ เป็นต้น momum verum J. Presl.) และอบเชยไทย (Cin-
โดยอบเชยเทศและอบเชยไทยจะมีคุณสมบัติหรือ namomum bejolghotha (Buch-Ham.) Sweet)
สรรพคุณทางยาที่ใกล้เคียงกัน สามารถนำามาใช้แทน แหล่งที่มาจากร้านขายยาเวชพงศ์โอสถ (ฮกอันตึ้ง) ที่
[6]
กันได้ และสมุนไพรทั้งสองตัวนี้งานวิจัยพบว่า ได้มี อยู่ 145-149 ถนนจักรวรรดิ แขวงสัมพันธวงศ์ เขต
การนำาไปเป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ดูแลและรักษา สัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
้
ผิว อาทิ เจลรักษาสิวบนใบหน้า และนำามันหอม ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
[7]
ระเหยจากเปลือกอบเชย ยังได้รับความนิยมในการนำา ประชากร คือ นักศึกษาหลักสูตรการแพทย์แผน
[8]
มาใช้ในผลิตภัณฑ์ดูแลผิว เนื่องจากอบเชยเป็นสาร ไทยบัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และ
ต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูงซึ่งช่วยปกป้อง สาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรี จำานวน
ความเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระ รวมถึงริ้วรอย 166 คน
[11]
้
้
ผิวคลำาและผิวที่ดูหมองคลำา โดยรวมอบเชยสามารถ กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
[9]
ช่วยให้ผิวมีสุขภาพดี ทีมผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดใน คือ กลุ่มที่ 1 ใช้วิเคราะห์สถานการณ์การใช้ผลิตภัณฑ์
การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระชนิดไนตริกออกไซด์ ครีมบำารุงข้อศอกจากสารสกัดอบเชยในปัจจุบัน