การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2561
การดำเนินงาน ITA
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
สรุปผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2561
การดำเนินงาน ITA
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
สรุปผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
โครงการ
ประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
มาตรการ กลไก คู่มือและแนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
มาตรการ กลไก ระบบตรวจสอบการปฏิบัติงาน
มาตรการ กลไก และระบบที่เปิดโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
มาตรการ กลไก ส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการ กลไก ในการดำเนินการกับผู้มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานต่ำ
คู่มือมาตรฐานวิธีปฏิบัติการจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
วิธีการขั้นตอนในการจัดซื้อจัดจ้างแบบ E-Bidding
แนวทางการตรวจสอบบุคลากรในการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เรื่อง แนวทางการป้องกันการรับสินบน
การติิดตามผล
มาตรการ กลไก ระบบตรวจสอบการปฏิบัติงาน
มาตรการ กลไก และระบบที่เปิดโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
มาตรการ กลไก ส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรการ กลไก ในการดำเนินการกับผู้มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานต่ำ
แนวทางในการปฏิบัติราชการการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2561
ความก้าวหน้าของโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2561
แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี พ.ศ. 2561
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี พ.ศ. 2561
ขั้นตอนการรับบริการทางการแพทย์
การรับบริการทางการแพทย์ของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
การรับบริการทางการแพทย์ของศูนย์การแพทย์ทางเลือก
ขั้นตอนการรับบริการทางวิชาการ
การยื่นคำขอจดทะเบียนสิทธิภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
การขอรับทุนเพื่อศึกษา วิจัย พัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
ดาวน์โหลดเอกสารและแบบฟอร์มต่างๆ
แบบฟอร์มการตรวจสอบและรับรองของเจ้าหน้าที่เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน (ตส.1)
แบบฟอร์มรายงานการรับของขวัญ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดอันควรได้ (ตส.2)
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency assessment : ITA) เป็นการประเมินที่มีจุดมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดการปรับปรุงพัฒนา ด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงานภาครัฐ โดยถือเป็นการประเมินที่ครอบคุลมหน่วยงานภาครัฐ ทั่วประเทศ ซึ่งเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 23 มกราคม 2561 กำหนดให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือและเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 โดยใช้แนวทางและเครื่องมือการประเมินตามที่สำนักงาน ป.ป.ช. กำหนด
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
1.แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน หมายถึง บุคลากรภายในหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร ผู้อำนวยการ/หัวหน้ากลุ่มงาน ข้าราชการพนักงานราชการไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ที่ทำงานให้กับหน่วยงานมาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี
2.แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก หมายถึง บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐอื่นที่มารับบริการหรือมาติดต่อตามภารกิจของหน่วยงานภายในปีงบประมาณที่ร่วมการประเมิน
3.แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ หมายถึง การเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อเปิดเผยข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานเพื่อให้สาธารณชนได้ทราบ เพื่อแสดงถึงความโปร่งใสในการบริหารงานและการดำเนินงานของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดการประเมิน
ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงานต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรอื่นในหน่วยงานตนเอง เช่น
- ผู้บริหารมีการปฏิบัติงานโดยยึดหลักตามมาตรฐานการทำงาน
- มีความโปร่งใส ดำเนินการตามขั้นตอน ระยะเวลาที่กำหนดไว้ และปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน
- มีพฤติกรรมการเรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นๆ เพื่อแลกกับการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่
ไม่ว่าจะเป็นของบุคลากรอื่นในหน่วยงานหรือแม้แต่การให้ต่อบุคคลภายนอก ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดการรับสินบน
ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงานต่อการดำเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ การใช้จ่ายเงินงบประมาณ เช่น
- การจัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีและเผยแพร่บนเว็บไซต์อย่างโปร่งใส
- การใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่า
- ไม่มีการเอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง
- ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนแอบแฝง เช่น การเบิกค่าล่วงเวลา ค่าเดินทาง ค่าวัสดุ ตลอดจนกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการตรวจรับ
ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงานต่อการใช้อำนาจของผู้บังคับบัญชาที่เกี่ยวข้อง ในประเด็น ดังนี้
- การมอบหมายงาน การประเมิลผลการปฏิบัติงาน การคัดเลือกบุคลากรเพื่อให้สิทธิประโยชน์
จะต้องมีความเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
- มีการสั่งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำในธุระส่วนตัวหรือ ทำในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
- มีการบริหารงานบุคคลที่อาจเกิดการแทรกแซงจากผู้มีอำนาจ
- มีการซื้อขายตำแหน่ง หรือการเอื้อประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพ้อง
ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงานต่อการใช้ทรัพย์สินของราชการ ในประเด็น ดังนี้
- มีการนำทรัพย์สินของราชการไปเป็นของตนเองหรือนำไปให้ผู้อื่นหรือไม่
- การขอยืมทรัพย์สินของราชการมีกระบวนการในการขออนุญาตที่ชัดเจนและสะดวกหรือไม่
- มีการจัดทำแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้องหรือไม่
ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงานต่อการแก้ไขปัญหาทุจริต ในประเด็น ดังนี้
- มีการทบทวนนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริตให้มีประสิทธิภาพ
- มีการจัดทำแผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหา การทุจริตได้อย่างเป็นรูปธรรม
- สร้างความเชื่อมั่นให้กับบุคลากรภายในในการร้องเรียนเมื่อพบเห็นการทุจริต
- มีการตรวจสอบ นำผลการตรวจสอบไปปรับปรุงการทำงานเพื่อป้องกันการทุจริต
ตัวชี้วัดที่ 6 คุณภาพการดำเนินงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นคุณภาพการดำเนินงาน เช่น
- การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ยึดหลักมาตรฐาน ขั้นตอน ระยะเวลาที่กำหนดไว้
- การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เป็นไปอย่างเท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบัติ
- เจ้าหน้าที่ต้องให้ข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบังหรือบิดเบือน
- เจ้าหน้าที่มีการเรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นๆ เพื่อแลกกับการปฏิบัติงานหรือไม่
ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นประสิทธิภาพการสื่อสาร เช่น
- การเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชนในช่องทางที่หลากหลาย
- ข้อมูลที่เผยแพร่มีความครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะผลการดำเนินงาน
- มีช่องทางที่สามารถส่งคำติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการ การให้บริการ
- มีช่องทางการชี้แจงข้อกังวลสงสัยได้อย่างชัดเจน
- มีช่องทางร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และกระบวนการปฏิบัติงาน รวมไปถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน บนเว็บไซต์ให้สาธารณชนได้รับทราบใน 5 ประเด็น 33 ข้อมูลย่อย ดังนี้
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงาน
O4 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน
O11 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน
O12 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
O13 คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
O14 คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
O15 ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
O16 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
O17 E-Service
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ
O18 แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
O19 รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี รอบ 6 เดือน
O20 รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2561
O21 แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
O22 ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
O23 สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
O24 รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
O25 นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
O26 การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
O27 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
O28 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใสในหน่วยงาน
O29 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
O30 ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
O31 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
O32 ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
O33 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน บนเว็บไซต์ให้สาธารณชนได้รับทราบใน 2 ประเด็น 15 ข้อมูลย่อย ดังนี้
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
O35 การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
O36 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
O37 การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
O38 การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
O39 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
O40 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
O41 รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
O42 มาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ
O43 มาตรการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วม
O44 มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
O45 มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
O47 มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
O48 มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ